ตัวอย่างการใช้งาน DSS
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS : Decision Support System)
ระบบ DSS คือ ระบบแบบโต้ตอบที่ใช้คอมพิวเตอร์โดยอาศัยความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ระบบได้รับการออกแบบให้ใช้งานง่าย และสะดวก มีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลได้ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารในปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง
ตัวอย่างการใช้การใช้ DSS Tools เพื่อพยากรณ์ คาดการณ์และปรับปรุงผลผลิตพืช
ระบบ DSS คือ ระบบแบบโต้ตอบที่ใช้คอมพิวเตอร์โดยอาศัยความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ระบบได้รับการออกแบบให้ใช้งานง่าย และสะดวก มีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลได้ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารในปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้างโปรแกรมนี้เป็นโปรแกรมช่วยตัดสินในเรื่องของการเกษตร ในเรื่องของการพยากรณ์ คาดการณ์และปรับปรุงผลผลิตพืช ซึ่งโปรแกรมนี้จะช่วยในการวางระบบการผลิตพืชในระดับแปลงผลิต ระบบสนับสนุนการตัดสินใจหรือได้รับการวิจัยและพัฒนาอย่างกว้างขวางและต่อเนื่องในต่างประเทศ และในประเทศไทยเพื่อเอื้อให้ผู้ใช้งานสามารถเชื่อมโยงฐานข้อมูลกายภาพชึวภาพและสังคมเศรษฐกิจกับแบบจาลองทางเกษตรและทางเศรษฐกิจเพื่อประเมินทางเลือกที่หลากหลายและนาผลการประเมินประกอบการตัดสินใจจัดสรรทรัพยากรในการผลิ ตตามความต้องการของตลาดและเหมาะสมต่อสภาพทรัพยากรเกษตรของแต่ละพื้นที่
ที่มา:http://mis.agri.cmu.ac.th/download/publication/4384_file.pdf
ระบบ DSS คือ ระบบแบบโต้ตอบที่ใช้คอมพิวเตอร์โดยอาศัยความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ระบบได้รับการออกแบบให้ใช้งานง่าย และสะดวก มีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลได้ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารในปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง
ตัวอย่างการใช้การใช้ DSS Tools เพื่อพยากรณ์ คาดการณ์และปรับปรุงผลผลิตพืช
ระบบ DSS คือ ระบบแบบโต้ตอบที่ใช้คอมพิวเตอร์โดยอาศัยความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ระบบได้รับการออกแบบให้ใช้งานง่าย และสะดวก มีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลได้ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารในปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้างโปรแกรมนี้เป็นโปรแกรมช่วยตัดสินในเรื่องของการเกษตร ในเรื่องของการพยากรณ์ คาดการณ์และปรับปรุงผลผลิตพืช ซึ่งโปรแกรมนี้จะช่วยในการวางระบบการผลิตพืชในระดับแปลงผลิต ระบบสนับสนุนการตัดสินใจหรือได้รับการวิจัยและพัฒนาอย่างกว้างขวางและต่อเนื่องในต่างประเทศ และในประเทศไทยเพื่อเอื้อให้ผู้ใช้งานสามารถเชื่อมโยงฐานข้อมูลกายภาพชึวภาพและสังคมเศรษฐกิจกับแบบจาลองทางเกษตรและทางเศรษฐกิจเพื่อประเมินทางเลือกที่หลากหลายและนาผลการประเมินประกอบการตัดสินใจจัดสรรทรัพยากรในการผลิ ตตามความต้องการของตลาดและเหมาะสมต่อสภาพทรัพยากรเกษตรของแต่ละพื้นที่
ที่มา:http://mis.agri.cmu.ac.th/download/publication/4384_file.pdf
Comments
Post a Comment